T A V O R N
ก้อง
Monday, October 15, 2007
Tuesday, September 4, 2007
Saturday, August 4, 2007
Thursday, January 11, 2007
การค้นคว้าแล้ววิจัย Designer :: Alan Chan
:::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::
:::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::
Alan Chan คือหนึ่งในนักออกแแบบกราฟฟิค ฮ่องกง เป็นผู้ที่ประสบความสำเร็จ และเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ผู้ซึ่งมีปรัชญา การนำความเชื่อซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมของโลกตะวันออกผสมผสานกับแนวคิดสมัยใหม่ของชาวตะวันตก
Wednesday, January 10, 2007
Balance
การศึกษาเรื่อง Balance และขยายผล
ขั้นตอนการทำงาน
1. Reseach
2 ขยายผลการทดลอง (แตกวิธีออก)
3 วิเคราะห์ผลการทดลอง
4 สรุปผล
5 หาประโยชน์ที่ได้จากสิ่งใหม่
6 แล้วปรับใช้ในชิ้นงาน
Reseach
ขั้นตอนการทำงาน
1. Reseach
2 ขยายผลการทดลอง (แตกวิธีออก)
3 วิเคราะห์ผลการทดลอง
4 สรุปผล
5 หาประโยชน์ที่ได้จากสิ่งใหม่
6 แล้วปรับใช้ในชิ้นงาน
Reseach
----------------------------------------------------------------
ความสมดุล หรือ ดุลยภาพ หมายถึง น้ำหนักที่เท่ากันขององค์ประกอบ
ไม่เอนเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง ในทางศิลปะยังรวมถึงความประสานกลมกลืน
ความพอเหมาะพอดีของ ส่วนต่าง ๆ ในรูปทรงหนึ่ง หรืองานศิลปะชิ้นหนึ่ง
การจัดวางองค์ประกอบต่าง ๆ ลงในงานศิลปกรรมนั้นจะต้องคำนึงถึงจุดศูนย์ถ่วง
ในธรรมชาตินั้น ทุกสิ่งสิ่งที่ทรงตัวอยู่ได้โดยไม่ล้มเพราะมีน้ำหนักเฉลี่ยเท่ากันทุกด้าน
ฉะนั้น ในงานศิลปะถ้ามองดูแล้วรู้สึกว่าบางส่วนหนักไป แน่นไป หรือ เบา บางไป
ก็จะทำให้ภาพนั้นดูเอนเอียง และเกิดความ รู้สึกไม่สมดุล เป็นการบกพร่องทางความงาม
ดุลยภาพในงานศิลปะ มี 2 ลักษณะ คือ
1. ดุลยภาพแบบสมมาตร (Symmetry Balance) หรือ ความสมดุลแบบซ้ายขวาเหมือนกัน
คือ การวางรูปทั้งสองข้างของแกนสมดุล เป็นการสมดุลแบบธรรมชาติลักษณะแบบนี้ใน
ทางศิลปะมีใช้น้อย ส่วนมากจะใช้ในลวดลายตกแต่ง ในงานสถาปัตยกรรมบางแบบ หรือ
ในงานที่ต้องการดุลยภาพที่นิ่งและมั่นคงจริง ๆ
2. ดุลยภาพแบบอสมมาตร (Asymmetry Balance) หรือ ความสมดุลแบบซ้ายขวาไม่เหมือน
ไม่เอนเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง ในทางศิลปะยังรวมถึงความประสานกลมกลืน
ความพอเหมาะพอดีของ ส่วนต่าง ๆ ในรูปทรงหนึ่ง หรืองานศิลปะชิ้นหนึ่ง
การจัดวางองค์ประกอบต่าง ๆ ลงในงานศิลปกรรมนั้นจะต้องคำนึงถึงจุดศูนย์ถ่วง
ในธรรมชาตินั้น ทุกสิ่งสิ่งที่ทรงตัวอยู่ได้โดยไม่ล้มเพราะมีน้ำหนักเฉลี่ยเท่ากันทุกด้าน
ฉะนั้น ในงานศิลปะถ้ามองดูแล้วรู้สึกว่าบางส่วนหนักไป แน่นไป หรือ เบา บางไป
ก็จะทำให้ภาพนั้นดูเอนเอียง และเกิดความ รู้สึกไม่สมดุล เป็นการบกพร่องทางความงาม
ดุลยภาพในงานศิลปะ มี 2 ลักษณะ คือ
1. ดุลยภาพแบบสมมาตร (Symmetry Balance) หรือ ความสมดุลแบบซ้ายขวาเหมือนกัน
คือ การวางรูปทั้งสองข้างของแกนสมดุล เป็นการสมดุลแบบธรรมชาติลักษณะแบบนี้ใน
ทางศิลปะมีใช้น้อย ส่วนมากจะใช้ในลวดลายตกแต่ง ในงานสถาปัตยกรรมบางแบบ หรือ
ในงานที่ต้องการดุลยภาพที่นิ่งและมั่นคงจริง ๆ
2. ดุลยภาพแบบอสมมาตร (Asymmetry Balance) หรือ ความสมดุลแบบซ้ายขวาไม่เหมือน
การจัดความสมดุลแบบนี้เป็นที่นิยม เป็นการจัดที่ให้มองสภาพส่วนรวมแล้วมีความถ่วงหรือน้ำหนัก
เท่ากันด้วยความรู้สึกจากการมองเห็น
กัน มักเป็นการสมดุลที่เกิดจาการจัดใหม่ของมนุษย์ ซึ่งมีลักษณะที่ทางซ้ายและขวาจะไม่
เหมือนกัน ใช้องค์ประกอบที่ไม่เหมือนกัน แต่มีความสมดุลกัน อาจเป็นความสมดุลด้วย
น้ำหนักขององค์ประกอบ หรือสมดุลด้วยความรู้สึกก็ได้ การจัดองค์ประกอบให้เกิดความ
สมดุลแบบอสมมาตรอาจทำได้โดย เลื่อนแกนสมดุลไปทางด้านที่มีน้ำหนักมากว่า หรือ
เลื่อนรูปที่มีน้ำหนักมากว่าเข้าหาแกน จะทำให้เกิดความสมดุลขึ้น หรือใช้หน่วยที่มีขนาด
เล็กแต่มีรูปลักษณะที่น่าสนใจถ่วงดุลกับรูปลักษณะที่มีขนาดใหญ่แต่มีรูปแบบธรรมดา
การจัดความสมดุลทั้งสองข้างไม่เหมือนกันควรพิจารณาถึงสิ่งต่างๆดังนี้ น้ำหนัก วัตถุเล็ก
กัน มักเป็นการสมดุลที่เกิดจาการจัดใหม่ของมนุษย์ ซึ่งมีลักษณะที่ทางซ้ายและขวาจะไม่
เหมือนกัน ใช้องค์ประกอบที่ไม่เหมือนกัน แต่มีความสมดุลกัน อาจเป็นความสมดุลด้วย
น้ำหนักขององค์ประกอบ หรือสมดุลด้วยความรู้สึกก็ได้ การจัดองค์ประกอบให้เกิดความ
สมดุลแบบอสมมาตรอาจทำได้โดย เลื่อนแกนสมดุลไปทางด้านที่มีน้ำหนักมากว่า หรือ
เลื่อนรูปที่มีน้ำหนักมากว่าเข้าหาแกน จะทำให้เกิดความสมดุลขึ้น หรือใช้หน่วยที่มีขนาด
เล็กแต่มีรูปลักษณะที่น่าสนใจถ่วงดุลกับรูปลักษณะที่มีขนาดใหญ่แต่มีรูปแบบธรรมดา
การจัดความสมดุลทั้งสองข้างไม่เหมือนกันควรพิจารณาถึงสิ่งต่างๆดังนี้ น้ำหนัก วัตถุเล็ก
ถ้าจะทำให้มีน้ำหนักเท่ากับวัตถุใหญ่ จะต้องเพิ่มจำนวนวัตถุเล็กเข้าไป , สีที่เข้มมากจะ
มีน้ำหนักมากกว่าสีอ่อน, พื้นผิวหยาบจะมีน้ำหนักมากกว่าพื้นผิวเรียบ, การวางตำแหน่งของวัตถุ
วางไกลให้ความรู้สึกหนักกว่าวัตถุที่อยู่ไกล, ความน่าสนใจของรูปวัตถุ วัตถุที่มีขนาดใหญ่
อาจให้ความรู้สึกเบากว่าวัตถุขนาดเล็กที่น่าสนใจมากกว่าก็ได้
What's Balance
ความถามที่เกิดคือ...แล้วมันจะมี Balance รูปแบบอื่นได้หรือไม่ ?
ความสมดุล(ของผม)
1 การสมดุลด้วยคณิตศาสตร์ -เรื่องของพื้นที่ -เรื่องของจำนวน -เน้นไปทางวัตถุ(ผลิตภัทฑ์)
2 การสมดุลแบบตรงข้าม 2 สิ่งที่มาค่าน้หนักเท่ากัน
3 การสมดุลด้วยสถานะภาพ -ความสมดุลด้วยความหมายนั้น ผมคิดว่าการสื่อสาร
ถ้าตรงกับความหมายที่เราจะสื่อ ถ้าหมายเท่ากัน มันจึงสมดุล
ขยายผลการทดลอง
ขยายผลการทดลอง
----------------------------------------------------------------




สรุปผล
----------------------------------------------------------------

Tuesday, January 9, 2007
C h a r a c t e r D e s i g n
Subscribe to:
Posts (Atom)